วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

เทคนิคในการสร้างสไลด์ด้วย powerpoint

เทคนิคการนำเสนอเรื่องราวด้วย PowerPoint ที่เรียบง่าย ได้ประเด็น เห็นผล ในการนำเสนอ Presentation Zen มีสาระที่น่าสนใจในการสร้าง Presentation ที่ดี ดังนี้
Presentation ทีดีควรจะ
· Short
· Simple
· Legible
· Engaging
สมองคนเรามีสองซีกคือซีกซ้ายและซีกขวา Daniel Pink ได้กล่าวไว้ในหนังสือ A Whole New Mind ว่าสมองซีกขวาเป็นตัวแทนของอารมณ์ ความรู้สึก และความสุนทรี ส่วนซีกซ้ายนั้นทำหน้าที่รวบรวมข้อมูล และ สัมผัสที่ใช้ประโยชน์จากสมองซีกขวาในการนำเสนอ presentation ประกอบด้วย
· การออกแบบที่ไม่ยึดติดรูปแบบ
· เรื่องราวที่น่าติดตาม
· การผสมผสานของเนื้อหาและการนำเสนอ
· การนำผู้ฟังไปสู่ประเด็นอย่างฉลาด
· นำเสนออย่างธรรมชาติ
· ให้ความหมายของเรื่องราวกับผู้ฟัง
วิธีการสร้างสไลด์ที่ดีที่มีองค์ประกอบที่เรียบง่าย มีความสมดุล และสวยงาม (simple, balance, beautiful) นั้นต้องเริ่มต้นจากการลืมสิ่งที่เคยปฏิบัติมาในการทำสไลด์แบบเดิม แล้วเริ่มต้นจากความว่างหรือ the beginner's mind ที่พร้อมที่จะเปิดรับสิ่งใหม่ๆ “In the beginner's mind there are many possibilities, in the expert's mind there are few.” Shunryu Suzuki
ใส่ความรัก จินตนาการ และจิตวิญญาณลงในงานของเรา หากปราศจากสิ่งดังกล่าวก็จะไม่เกิดการสร้างสรรใดๆ ลองเริ่มต้นจากหลักการต่อไปนี้
· สร้างสไลด์ที่ช่วยทำให้งานเรามีคุณค่า น่าสนใจ เป็นการนำผู้ฟังให้คล้อยตามและเกิดความประทับใจว่าสิ่งที่เรานำเสนอนั้นเป็นเช่นนั้นจริงๆ
· พยายามเลี่ยงการใช้สีที่ดู chessy
· หลีกเลี่ยงการใช้เทคนิคพิเศษในการนำเสนอ keep it simple!
· ทำ script ประกอบเนื้อหาแจกทีหลัง
เริ่มต้นจากการออกแบบ Planning Analog ในขั้นตอนที่สำคัญนี้ด้วยกระดาษและดินสอ ร่างความคิดลงในความว่างเปล่าของกระดาษ “If you have the ideas, you can do a lot without machinery. Once you have those ideas, the machinery starts working for you……Most ideas you can do pretty dam well with a stick in the sand.” Alan Kay
“What a computer is to me is it's the most remarkable tool that we've ever come up with, and it's the equivalent of a bicycle for our minds.” Steve Jobs
หาคำตอบจากคำถามต่อไปนี้
· มีเวลาในการนำเสนอเท่าไหร่
· สถานที่ที่จะไปบรรยายเป็นอย่างไร
· ไปบรรยายช่วงไหนของวัน
· ผู้ฟังเป็นใคร
· ผู้ฟังมีพื้นหลังอย่างไร
· ความมุ่งหวังของผู้ฟังต่อการนำเสนอ
· หัวข้อที่ถูกกำหนดมาเป็นอย่างไร
· อยากให้เจ้าภาพเตรียมการอย่างไร
· อุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อสถานที่และผู้ฟัง
· อะไรคือเป้าหมายพื้นฐานของเราในการบรรยายในครั้งนี้
· เรื่องราวที่จะนำเสนอเป็นอย่างไร
มีสองสิ่งที่จะต้องนึกถึงอยู่เสมอคือ
1. จะนำเสนออะไร What's my point?
2. มันสำคัญอย่างไร What does it matter?
สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือการเตรียม handout ให้เตรียม handout ที่ประกอบด้วยรายละเอียดของสิ่งที่จะบรรยายเพื่อให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์สูงสุด และไม่ต้องใส่ข้อมูลเหล่านี้ลงในสไลด์ที่จะบรรยาย อย่าแจก handout ที่เป็น presentation เป็นอันขาดสิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือการเตรียม handout ให้เตรียม handout ที่ประกอบด้วยรายละเอียดของสิ่งที่จะบรรยายเพื่อให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์สูงสุด และไม่ต้องใส่ข้อมูลเหล่านี้ลงในสไลด์ที่จะบรรยาย อย่าแจก handout ที่เป็น presentation เป็นอันขาด
หลักปฏิบัติ 6 ประการที่จะทำให้ประสบความสำเร็จในการนำเสนองาน The six principles-SUCCESs-are your weapons.
· Simplicity: ความเรียบง่าย ถ้าคิดว่าจะต้องใส่ทุกอย่างลงในสไลด์เพราะมีความสำคัญหมด ในที่สุดก็จะหาเรื่องที่สำคัญไม่ได้เลยสักอย่าง
· Unexpectedness: ทำให้เกิดความประหลาดใจ ความอยากรู้ การติดตามเรื่องราว
· Concreteness: มีความมั่นคงอยู่บนหลักการ ใช้คำพูดในการบรรยายที่เป็นธรรมชาติ ยกตัวอย่างประกอบที่เป็นจริง
· Credibility น่าเชื่อถือ
· Emotions: สร้างอารมณ์ร่วม ให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับเนื้อหา และเข้าใจประเด็นที่ต้องการสื่อสาร
· Stories: เนื้อหา นำเสนอเนื้อหาจากตัวตนของเรา ประเด็นอยู่ที่ต้องทำใฟ้ผู้ฟังเข้าใจในความคิดของเราอย่างชัดเจน การนำเสนอที่ดีต้องมีเรื่องราว เรื่องราวที่ดีจ้องน่าสนใจ มีจุดเริ่มต้นที่แจ่มชัด น่าติดตาม ดึงผู้ฟังให้เข้ามาอยู่ในเนื่อหา และมีบทสรุปที่ชัดเจน
หลักในการนำเสนอ(เมื่อคุณอยู่บนเวที)
· ไม่มีใครรู้ดีกว่าตัวคุณ ว่าคุณกำลังจะทำอะไร
· เวลานำเสนอให้ทำตัวตามสบาย ยืนและใช้ภาษาที่เรียบง่าย เป็นส่วนหนึ่งของผู้ฟัง
· อย่าให้ความสนใจกับเทคโนโลยีในกรณีที่เกิดปัญหา นำเสนอไปด้วยความต่อเนื่องอย่าทำให้อารมณ์ผู้ฟังสะดุด
· แทรกอารมณ์ขันบ้าง และยกตัวอย่างประกอบที่ทำให้ผู้ฟังต้องคิดตาม
นำเสนอแบบ Zen: เรียบง่าย เป็นธรรมชาติ สง่างาม
· Kanso(simplicity): Simplicity means the achievement of maximum effect with minimum means.
· Shizen(Naturalness): The aesthetic concept of naturalness or shizen “prohibits the use of elaborate designs and over refinement”.
· Shibumi(Elegance): represent elegant simplicity and articulate brevity, and understand elegant.
The zen aesthetic values include:
· simplicity คงความเรียบง่าย
· subtlety แฝงด้วยเสน่ห์น่าติดตาม
· elegant ดูสง่างาม
· suggestive rather than the descriptive or obvious นำเสนอมืใช่ชี้นำ
· naturalness เป็นธรรมชาติ
· empty space มีข่องว่างของสายตาบนสไลด์
· stillness, tranquility มีความสงบนิ่ง
· eliminating the nonessential ขจัดสิ่งที่ไม่จำเป็นออ
ข้อคิดเกี่ยวกับ LOGO Who says your logo should be on every slides? “Branding is one of the most overused and misunderstood terms in use today. Try removing logos from all slides except the first and the last slides.
The 1-7-7 rule:
· have only one main idea per slide. ในสไลด์หนึ่งแผ่นพยายามนำเสนอแค่ประเด็นเดียว
· Have only seven lines of text maximum. ไม่ควรมีข้อความเกิน 7 บรรทัด
· Use only seven words per line maximum. ในหนึ่งบรรทัดไม่ควรใช้ตำเกิน 7 คำ
Pictures: Picture superiority effect: The picture superiority effect says that pictures are remembered better than words, especially when people are casually exposed to the information and the expose is for a very few limited of time. Images are a powerful and natural way for humans to communicate. เลือกภาพประกอบที่สื่อความหมายแทนคำพูด
Quote: การยกคำกล่าวของผู้มีชื่อเสียง หรือคำกล่าวที่กินใจจะช่วยการเข้าประเด็นของการนำเสนอและการเน้นน้ำหนักของเรื่องได้ดี Empty Space: ให้ความสำคัญกับช่องว่างบนสไลด์ที่ทำให้ความรู้สึกและอารมณ์ของผู้ฟังเปลี่ยนไป ลองดูหน้าจอของ Google เป็นตัวอย่าง Empty space can convey a feeling of high quality, sophistication, and importance.
The big fours: Contrast, Repetition, Alignment, Proximity.
· use the principle of contrast to create strong dynamic differences among elements that are different. It is different, make it very different.
· Use the principle of repetition to repeat selected elements throughout your slides. This can make your slide unity and organization.
· Use the principle of alignment to connect elements visually on a slide. Grids are very useful for achieving good alignment. This will give your slide clean, well-organized look.
· Use the principle of proximity to ensure that related items are grouped together. People will tend to interpret items together or near to earth other as belonging to the same group.
A good visual will enhance the speaker's message. หลักของการนำเสนอที่ดี
· Create visuals witch are simple and clear design priority that contain elements which guide the viewers eyes. สไลด์ที่ประกอบด้วยการออกแบบที่เรียบง่ายนำสายตาผู้ฟังไปสู่สิ่งที่จะนำเสนอ
· Have a visual theme that avoid tired, overused software templates. พยายามหลีกเลี่ยงการใช้ template
· Limit bullet points. ใช้ bullet point ไม่เกิน 7 ข้อ
· Use high quality graphic. ใช้ภาพกราฟฟิคที่มีคุณภาพ
· Build complex graphics to support your narrative. สร้างองค์ประกอบของกราฟฟิคที่จะช่วยเน้นสิ่งที่นำเสนอ
· think”maximum effect with minimum mean” คิดถึงหลักเซน
· learn to see empty space. And learn to use it in a way that things
Delivery:หลักในการนำเสนอ
· A good presenter is fully committed to the moment, committed to being there with the audience at that particular place and time. เป็นส่วนหนึ่งของสถานที่และเวลาในขณะนั้น
· The mind that is no mind. ทำจิตให้ว่างพร้อมที่จะเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอ
· Leave them just a little hungry(for more).ทิ้งความอยาก(รู้)ไว้เบื้องหลัง เพื่อทำให้เกิดคำถามและต้องติดตาม
· Removing the barriers to communication.พยายามขจัดอุปสรรคกีดขวางในการสื่อความระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง
· stand, deliver, connect ยืน นำเสนออย่างธรรมชาติ และนำผู้ฟังมาเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอ===== บทเรียนการนำเสนอ Presentation ของ STKS
Referenceshttp://stks.or.th/wiki/doku.php?id=presentation:zen

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น